รายงานการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
ของ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/6
นาย.กิตติศักดิ์ แดงกันหาเลขที่2
นาย.ยุทธชัยเจริญสุข เลขที่ 4
นาย.ยุทธชัยเจริญสุข เลขที่ 4
นาย.สิทธิพงษ์ บ้งพรม เลขที่6
นาย.กรกต ลาดโพธิ์ เลขที่ 11
นาย.กรกต ลาดโพธิ์ เลขที่ 11
นาย.ไพศาล สหะนาม เลขที่15
ที่ปรึกษา
คุณครูนารีรัตน์ แก้วประชุม
วันที่
5 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
เสนอ
โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร
อำเภอโพธ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้ ตามหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
ภาคเรียนที่
1 ปีการศีกษา2557
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา จะศีกษาเกี่ยวกับเรี่อง“การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา”ซึ่งคณะจัดทำขึ้นเพื่อให้นักเรียน
และผู้สนใจได้อ่านเป็นเอกสารเพิ่มเติม ต่อไป
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
รายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจเกี่ยวกับ การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
ซึ่งทำให้ทราบถึง เนื้อหาหลักๆขอสรรพคุณและประโยชน์ของขมิ้น และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่ได้วิเคราะห์ให้ผู้อ่านนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป หามีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ
โอกาสนี้ด้วย
คณะผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/6
5 กันยายน 2557
กิตติกรรมประกาศ
รายงานฉบับนี้จะสำเร็จและสมบูรณ์เป็นรูปเล่ม
ด้วยความกรุณาเอาใจใส่เป็นอย่างดีจาก
คุณ ครูนารีรัตน์ แก้วประชุม เป็นอย่างยิ่ง
เป็นคุณครูประจำวิชาที่คอยให้คำปรึกษาละแนะแนวทางการดำเนินกรทำรายงานใน
ครั้งนี้โดยไม่มีข้อบกพร่อง รวมทั้งข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นต่างๆ ตลอดทั้งการตรวจและแก้ไขรายงานฉบับนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ทางคณะผู้จัดทำจึงขอ ขอพระคุณ ไว้ ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคุณคุณครูทุกท่าน ที่ได้ประสิทธิ์ประสารทวิชา ความรู้
และประสบการณ์ตลอดจนอำนวยความสำเร็จให้บังเกิด
สุดท้ายนี้ คุณพ่อ และคุณแม่ ที่เป็นกำลังใจ
และให้ความช่วยเหลือในการเก็บรวบรวมข้อมูลและให้คำแนะนำในการทำรายงานครั้งนี้จนสำเร็จ
ลุล่วงด้วยดีตลอดมา
คณะผู้จัดทำ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5/6
5 กันยายน 2557
ชื่อเรื่อง
การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
ผู้ศึกษา นาย.กิตติศักดิ์ แดงกันหาเลขที่2
นาย.ยุทธชัยเจริญสุข เลขที่ 4
นาย.ยุทธชัยเจริญสุข เลขที่ 4
นาย.สิทธิพงษ์ บ้งพรม เลขที่6
นาย.กรกต ลาดโพธิ์ เลขที่ 11
นาย.กรกต ลาดโพธิ์ เลขที่ 11
นาย.ไพศาล สหะนาม เลขที่15
ครูที่ปรึกษา คุณครูนารีรัตน์
แก้วประชุม
ชื่อวิชา
ชื่อโรงเรียน โรงเรียนโพธ์ไทรพิทยาคาร ปีการศีกษา 2557
บทคัดย่อ
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของการบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา 2) เพื่อศึกษาประโยชน์ของผักตบชวาและสรรพคุณของผักตบชวา 3) เพื่อศึกษาผลการวิจัยเกี่ยวกับผักตบชวา โดยศึกษาจากhttp://www.ex-mba.buu.ac.th/research/Nonthaburi/PM6/51723687/05_ch5.pdf จำนวน1เว็บไซต์
ผลการศึกษาค้นคว้า ปรากฎว่า
1. ข้อมูลทั่วไปของผักตบชวามีดังนี้
1.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
1.2 การขยายพันธุ์
1.3 ส่วนที่ใช้
2. ประโยชน์ของผักตบชวา มีดังนี้
1.
ยอดอ่อน
ใบอ่อน และดอกอ่อน สามารถนำมาลวกจิ้มกับน้ำพริกรับประทานหรือนำมาทำแกงส้ม
ในไต้หวันจะนำผักชนิดนี้มาปรุงเป็นอาหารจำพวกผักโดยคุณค่าทางโภชนาการของส่วนที่รับประทานได้ของผักตบชวา
ต่อ 100 กรัมจะประกอบไปด้วย
พลังงาน 30 แคลอรี่, น้ำ 89.8%,
โปรตีน 0.5 กรัม, ไขมัน 0.1
กรัม, คาร์โบไฮเดรต 7.5 กรัม,
ใยอาหาร 2.4 กรัม[1],[3]
2.
ผักตบชวาสามารถนำมาเลี้ยงสุกร
เลี้ยงไก่ได้ เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารโดยพบว่าผักตบชวาแห้งจะมีโปรตีนประมาณ 14-20% ไขมัน 1-2.5% เส้นใย
17-19% ซึ่งโดยปกติแล้วสัตว์หลายชนิดก็กินผักตบชวาอยู่แล้ว
กล่าวคือ วัว ควาย แกะแพะ มักจะกินผักตบชวาที่ขึ้นอยู่ตามริมฝั่ง
หรือบางชนิดก็กินผักตบชวาในน้ำส่วนหมูก็กินผักตบชวาที่ผู้เลี้ยงนำมาต้มให้กินโดยสัตว์เหล่านี้ก็จะช่วยกำจัดผักตบชวาให้ลดน้อยลงได้บ้างและเรายังได้ประโยชน์จาก
3.
สัตว์เลี้ยงเหล่านี้อีกด้วย
และนอกจากนี้ยังมีการนำผักตบชวาไปแปรรูปใช้เป็นส่วนประกอบของสูตรอาหารสุกรและสัตว์ปีกอีกด้วย[1],[2],[6]แต่มีข้อควรระวังในการเลือกใช้คือให้เลือกผักตบชวาจากแหล่งน้ำที่ปลอดสารพิษจำพวกยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนักเท่านั้น
เพราะสารเหล่านี้จะถูกผักตบชวาดูดซับเอาไว้ และเมื่อนำไปให้สัตว์กินก็จะทำให้สัตว์ได้รับสารพิษเหล่านี้ไปด้วย[2]
4.
มีการนำผักตบชวาแห้งทั้งต้นมาใช้ทำเป็นแอลกอฮอล์และ
gas แต่ผลที่ได้ยังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจมากนัก[1]
5.
ผักตบชวาสามารถนำมาใช้ทำปุ๋ยหมัก
สำหรับการปลูกพืชผักต่างๆเนื่องจากผักตบชวามีโพแทสเซียมอยู่มากเป็นพิเศษส่วนฟอสฟอรัสและไนโตรเจนก็มีอยู่พอสมควรหรือนำมาใช้คลุมต้นไม้ที่ปลูกเอาไว้ให้เกิดความชุ่มชื้นเนื่องจากผักชนิดนี้มีคุณสมบัติในการอุ้มน้ำได้ดี[2],[6]
6.
ผักตบชวาที่ตากแดดจนแห้งดีแล้ว
สามารถนำมาเพาะเห็ดฟางเพื่อสร้างรายได้ได้เป็นอย่างดี[6]
7.
ใช้ทำเป็นกระถางชนิดพิเศษที่เป็นปุ๋ยในตัวเองโดยต้นกล้าที่จะนำมาเพาะชำในกระถางนี้
เราสามารถขุดหลุมปลูกได้เลยเพราะกระถางจะย่อยสลายไปได้เองและยังเป็นปุ๋ยให้กับพืชที่ปลูกอีกด้วย[2]
8.
นำมาใช้ทำเป็นเชื้อเพลิงแท่งโดยการนำมาผสมกับแกลบอัดเป็นแท่งเชื้อเพลิงได้โดยไม่มีปัญหาในการอัด
ค่าพลังงานความร้อนที่ได้ก็ใกล้เคียงกับแกลบอัด[2]
9.
ผักตบชวาสามารถขึ้นได้ในทุกสภาพน้ำและสามารถช่วยบำบัดน้ำเสียได้โดยตรงโดยทำหน้าที่เป็นตัวกรอง
ทำให้ของแข็งหรือสารแขวนลอยต่างๆที่ปนอยู่ในน้ำถูกสกัดกั้นเอาไว้นอกจากนั้นระบบรากของผักผักตบชวาที่มีจำนวนมากยังช่วยกรองสารอินทรีย์ที่ละเอียดและจุลินทรีย์ที่อาศัยเกาะอยู่ที่รากจึงช่วยดูดสารเหล่านี้ไว้ด้วยอีกทางหนึ่งแต่ถ้าน้ำเสียนั้นมีสารพิษในปริมาณมากหรือน้ำเสียมากการใช้ผักตบชวาเพื่อบำบัดน้ำเสียจะให้ผลช้าและอาจทำให้น้ำเน่าได้จึงควรใช้ผักตบชวาร่วมกับการบำบัดน้ำเสียระบบอื่นไปด้วย
จึงจะได้ผลดี[5]
10.
ผักตบชวาสามารถนำมาแปรรูปทำเป็นผลิตภัณฑ์จักสานหรือสินค้าอื่นๆผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาก็เช่นกล่อง
กล่องใส่กระดาษทิชชู ตะกร้าผักตบชวากระเป๋าผักตบชวา เก้าอี้ผักตบชวา เปลญวน
รองเท้าแตะหรือรองเท้าผักตบชวาถาดรองผลไม้ ถาดรองแก้วน้ำ แจกันสาน เสื่อผักตบชวา
กระดาษจากผักตบชวา ฯลฯ[2],[6]
11.
นอกจากนี้ผักตบชวายังมีประโยชน์ที่ช่วยทำให้น้ำสะอาดขึ้นช่วยสะสมพลังงานจากดวงอาทิตย์
ทำให้อากาศบริสุทธิ์และเย็นสบายช่วยลดปัญหาที่เกิดจากวัชพืชใต้น้ำ
เป็นที่อยู่อาศัยของปลาและสัตว์น้ำช่วยทำให้เกิดทัศนียภาพที่เจริญตา (สำหรับบางคน)
ฯลฯ[6]
3สรรพคุณของผักตบชวา
ต้นมีรสจืด
มีสรรพคุณเป็นยาแก้พิษในร่างกาย (ต้น)[4]
ช่วยระบายความร้อนในร่างกาย (ไม่ระบุส่วนที่ใช้)[5]
ต้นมีสรรพคุณเป็นยาขับลม (ต้น)[4]
ต้นใช้ตำพอกแก้แผลอักเสบ (ต้น)[4]
บทที่
1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของปัญหา
ต้นผักตบชวา จัดเป็นพรรณไม้น้ำที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในทวีปอเมริกาใต้
ได้มีการนำเข้ามาปลูกครั้งแรกไว้ที่วังสระปทุมในกรุงเทพมหานครเมื่อปี พ.ศ.2444 แต่จากการขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วและเกิดน้ำท่วมจึงทำให้ผักตบชวาหลุดรอดออกมา
และเกิดการแพร่กระจายไปทั่ว จนกลายเป็นวัชพืชน้ำที่รุนแรง
โดยผักตบชวานั้นจัดเป็นพืชน้ำล้มลุกมีอายุหลายฤดู
มีลำต้นสั้นแตกใบเป็นกอลอยไปตามน้ำ มีไหล ซึ่งเกิดตามซอกใบแล้วเจริญเป็นต้นอ่อนที่ปลายไหล
ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ ผิวลำต้นเรียบเป็นสีเขียวอ่อนและเข้ม
ลำต้นจะมีขนาดสั้นหรือยาวจะขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ำ
ก้านใบจะพองออกตรงช่องกลาง ภายในมีลักษณะเป็นรูพรุน จึงช่วยพยุงลำต้นให้ลอยน้ำได้
ลำต้นสั้น มีความสูงได้ประมาณ 3-90 เซนติเมตร รากจะแตกออจากลำต้นบริเวณข้อ
รากมักมีสีม่วงดำ ซึ่งลำต้นลอยอยู่บนผิวน้ำบางต้นอาจจะขึ้นอยู่ตามโคลนในที่น้ำตื้น
สามารถขึ้นบนบกก็ได้ มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี แต่จะไม่ทนน้ำเค็ม
ผักตบชวาเป็นพืชที่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว โดยการแยกกอหรือใช้ไหล
พบได้ทั่วไปตามริมน้ำ[1],[2]
วัตถุประสงค์ของปัญหา
เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของผักตบชวา
เพื่อศึกษาประโยชน์ของผักตบชวาและสรรพคุณของผักตบชวา
เพื่อศึกษาสารสกัดจากผักตบชวา
เพื่อศึกษาผลการวิจัยเกี่ยวกับผักตบชวา
สมมุติฐาน
พืชน้ำบางชนิดที่มีอยู่มากมายในชุมชนและมีคุณสมบัติช่วยลดปริมาณของเสียในน้ำได้
จึงน่าจะช่วยบำบัดน้ำเสียในชุมชนได้
ขอบเขตของปัญหา
เนื้อหา
-ข้อมูลทั่วไปของผักตบชวา
-ประโยชน์ของผักตบชวาและสรรพคุณของผักตบชวา
-สารสกัดจากผักตบชวา
-ผลการวิจัยเกี่ยวกับผักตบชวา
ระยะเวลา
ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2557
ตัวแปรในการศึกษาค้นคว้า
-ตัวแปรต้น
คือ การปลูกผักตบชวา
-ตัวแปรตาม คือ
การบําบัดน้ำเสียของผักตบชวา
นิยามศัพท์เฉพาะ
ผักตบชวา (อังกฤษ: Water Hyacinth) เป็นพืชน้ำล้มลุกอายุหลายฤดู
สามารถอยู่ได้ทุกสภาพน้ำ มีถิ่นกำเนิดในแถบลุ่มน้ำอะเมซอน ประเทศบราซิล
ในทวีปอเมริกาใต้ มีดอก สีม่วงอ่อน คล้ายช่อดอกกล้วยไม้ และแพร่พันธุ์ได้อย่างรวดเร็วจนกลายเป็นวัชพืชที่ร้ายแรงในแหล่งน้ำทั่วไป
มีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่นดังนี้: ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา,
ผักอีโยก, ผักป่อง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
1.ทราบถึงลักษณะของผักตบชวา
2.ทราบถึงประโยชน์ของผักตบชวา
บทที่2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าเรื่อง
การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
มีหัวข้อและรายละเอียด ดังนี้
1.ข้อมูลทั่วไปของผักตบชวา
2.ประโยชน์ของผักตบชวาและสรรพคุณของผักตบชวา
3.สารสกัดจากผักตบชวา
4.ผลการวิจัยเกี่ยวกับผักตบชวา
1.ข้อมูลทั่วไปนของผักตบชวา
ต้นผักตบชวา
จัดเป็นพรรณไม้น้ำที่มีถิ่นกำเนิดดั้งเดิมอยู่ในทวีปอเมริกาใต้
ได้มีการนำเข้ามาปลูกครั้งแรกไว้ที่วังสระปทุมในกรุงเทพมหานครเมื่อปี พ.ศ.2444
แต่จากการขยายพันธุ์อย่างรวดเร็วและเกิดน้ำท่วมจึงทำให้ผักตบชวาหลุดรอดออกมา
และเกิดการแพร่กระจายไปทั่ว จนกลายเป็นวัชพืชน้ำที่รุนแรง
โดยผักตบชวานั้นจัดเป็นพืชน้ำล้มลุกมีอายุหลายฤดู
มีลำต้นสั้นแตกใบเป็นกอลอยไปตามน้ำ มีไหล
ซึ่งเกิดตามซอกใบแล้วเจริญเป็นต้นอ่อนที่ปลายไหล ลำต้นมีลักษณะอวบน้ำ
ผิวลำต้นเรียบเป็นสีเขียวอ่อนและเข้ม ลำต้นจะมีขนาดสั้นหรือยาวจะขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ำ
ก้านใบจะพองออกตรงช่องกลาง ภายในมีลักษณะเป็นรูพรุน จึงช่วยพยุงลำต้นให้ลอยน้ำได้
ลำต้นสั้น มีความสูงได้ประมาณ 3-90 เซนติเมตร รากจะแตกออจากลำต้นบริเวณข้อ
รากมักมีสีม่วงดำ ซึ่งลำต้นลอยอยู่บนผิวน้ำบางต้นอาจจะขึ้นอยู่ตามโคลนในที่น้ำตื้น
สามารถขึ้นบนบกก็ได้ มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี แต่จะไม่ทนน้ำเค็ม
ผักตบชวาเป็นพืชที่ขยายพันธุ์ได้รวดเร็ว โดยการแยกกอหรือใช้ไหล
พบได้ทั่วไปตามริมน้ำ[1],[2]
ชื่อวิทยาศาสตร์ Eichorniacrassipes (Mart.) Solms
ชื่อวงศ์ Pontederiaceae
ชื่ออังกฤษ Turmeric
ชื่อท้องถิ่น บัวลอย
ผักปง
ผักตบ ผักปอด
ผักป่อง
สวะ
ผักยะวา
ผักอีโยก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ผักตบชวามีลำต้นสั้นแตกใบเป็นกอลอยไปตามน้ำ
มีไหล ซึ่งเกิดตามซอกใบแล้วเจริญเป็นต้นอ่อนที่ปลายไหล ถ้าน้ำตื้นก็จะหยั่งรากลงดิน
ใบเป็นใบเดี่ยวรูปไข่หรือเกือบกลม
ก้านใบกลมอวบน้ำตรงกลางพองออกภายในเป็นช่องอากาศคล้ายฟองน้ำช่วยให้ลอยน้ำได้
ดอกเกิดเป็นช่อที่ปลายยอดมีดอกย่อย 3-25 ดอก สีม่วงอ่อน มีกลีบดอก 6 กลีบ
กลีบบนสุดขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น ๆ และมีจุดเหลืองที่กลางกลีบ
ขยายพันธุ์โดยการแยกต้นอ่อนที่ปลายไหลไปปลูก
ใบ: ทุ่นลอย
(Floating leaf) พืชน้ำบางชนิด เช่นผักตบชวา
สามารถลอยน้ำอยู่ได้ โดยอาศัยก้านใบอาศัยก้านใบพองโตออก
ภายในมีเนื้ออยู่กันอย่างหลวมๆ และมีช่องว่างอากาศใหญ่ทำให้มีอากาศอยู่มาก
จึงช่วยพยุงให้ลำต้นลอยน้ำอยู่ได้
ดอกผักตบชวา ออกดอกเป็นช่ออยู่กลางกอ ไม่มีก้านดอก
ในช่อหนึ่งจะประกอบไปด้วยดอกขนาดเล็กหลายดอก มีดอกประมาณ 3-25 ดอก
ดอกย่อยเป็นสีชมพูอมฟ้าหรือสีม่วง มีกลีบดอก 6 กลีบ
กลีบบนสุดจะมีขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่นๆ และจะมีจุดหรือแต้มสีเหลืองที่กลางกลีบ กลีบดอกจะมีลักษณะบาง
เมื่อช่อดอกเจริญขึ้น ก้านช่อดอกจะค่อยๆ ยาว พองใหญ่ขึ้น
ทำให้ภายในที่หุ้มก้านช่อดอกกับก้านใบขาดออก
เมื่อก้านช่อดอกเจริญมากขึ้นจะดันกาบใบก้านในขาด
ก้านช่อดอกจะแทงชูช่อดอกเจริญโผล่ขึ้นมาก โดยมีใบเล็กๆ
ที่ปลายก้านใบและภายในทำหน้าที่เป็นใบประดับรองรับช่อดอกอีกหนึ่ง
เมื่อเจริญเต็มที่แล้วดอกมักจะบานพร้อมกันหมดทั้งช่อ
โดยจะเริ่มบานตั้งแต่แสงอาทิตย์เริ่มส่อง และจะบานเต็มที่เมื่อแสงแดดส่องจ้า
โดยดอกจะบานแค่เพียง 1 วัน มีความสวยเด่นสะดุดตา และดึงดูดสายตาได้ดีมาก
โดยจะออกดอกช่วงปลายฤดูหนาวถึงต้นฤดูร้อน
และเนื่องจากช่อดอกของผักตบชวามีลักษณะคล้ายคลึงกับดอกไฮยาซินธิ์
จึงเป็นที่มาของชื่อสามัญว่า Water
Hyacinth[1],[2]
ผลผักตบชวา ผลเป็นแบบแคปซูลแห้งและแตกได้
ลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก แบ่งเป็นพู 3 พู เมื่อแก่จะแตกกลางพู ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก
ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปกลมขนาดเล็ก[2],[4]
ส่วนที่ใช้
บำบัดน้ำเสียรวมทั้งได้ผักตบชวาสำหรับทำปุ๋ยหมักหรือเชื้อเพลิงและอาหารสัตว์ตามเหมาะสม
รวมทั้งเป็นการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชองประประชาชนในพื้นที่รอบบริเวณบึงมักกะสัน
ให้ดีขึ้นอีกด้วย
2.สรรพคุณแลการใช้ประโยชน์
สรรพคุณ
1.
ต้นมีรสจืด
มีสรรพคุณเป็นยาแก้พิษในร่างกาย (ต้น)[4]
2.
ช่วยระบายความร้อนในร่างกาย
(ไม่ระบุส่วนที่ใช้)[5]
3.
ต้นมีสรรพคุณเป็นยาขับลม
(ต้น)[4]
4.
ต้นใช้ตำพอกแก้แผลอักเสบ
(ต้น)[4]
วิธีใช้ประโยชน์
1.
ยอดอ่อน
ใบอ่อน และดอกอ่อน สามารถนำมาลวกจิ้มกับน้ำพริกรับประทานหรือนำมาทำแกงส้ม
ในไต้หวันจะนำผักชนิดนี้มาปรุงเป็นอาหารจำพวกผักโดยคุณค่าทางโภชนาการของส่วนที่รับประทานได้ของผักตบชวา
ต่อ 100 กรัมจะประกอบไปด้วย
พลังงาน 30 แคลอรี่, น้ำ 89.8%,
โปรตีน 0.5 กรัม, ไขมัน 0.1
กรัม, คาร์โบไฮเดรต 7.5 กรัม,
ใยอาหาร 2.4 กรัม[1],[3]
2.
ผักตบชวาสามารถนำมาเลี้ยงสุกร
เลี้ยงไก่ได้ เนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารโดยพบว่าผักตบชวาแห้งจะมีโปรตีนประมาณ 14-20% ไขมัน 1-2.5% เส้นใย
17-19% ซึ่งโดยปกติแล้วสัตว์หลายชนิดก็กินผักตบชวาอยู่แล้ว
กล่าวคือ วัว ควาย แกะแพะ มักจะกินผักตบชวาที่ขึ้นอยู่ตามริมฝั่ง
หรือบางชนิดก็กินผักตบชวาในน้ำส่วนหมูก็กินผักตบชวาที่ผู้เลี้ยงนำมาต้มให้กินโดยสัตว์เหล่านี้ก็จะช่วยกำจัดผักตบชวาให้ลดน้อยลงได้บ้างและเรายังได้ประโยชน์จาก
3.
สัตว์เลี้ยงเหล่านี้อีกด้วย
และนอกจากนี้ยังมีการนำผักตบชวาไปแปรรูปใช้เป็นส่วนประกอบของสูตรอาหารสุกรและสัตว์ปีกอีกด้วย[1],[2],[6]แต่มีข้อควรระวังในการเลือกใช้คือให้เลือกผักตบชวาจากแหล่งน้ำที่ปลอดสารพิษจำพวกยาฆ่าแมลงหรือโลหะหนักเท่านั้น
เพราะสารเหล่านี้จะถูกผักตบชวาดูดซับเอาไว้ และเมื่อนำไปให้สัตว์กินก็จะทำให้สัตว์ได้รับสารพิษเหล่านี้ไปด้วย[2]
4.
มีการนำผักตบชวาแห้งทั้งต้นมาใช้ทำเป็นแอลกอฮอล์และ
gas แต่ผลที่ได้ยังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจมากนัก[1]
5.
ผักตบชวาสามารถนำมาใช้ทำปุ๋ยหมัก
สำหรับการปลูกพืชผักต่างๆเนื่องจากผักตบชวามีโพแทสเซียมอยู่มากเป็นพิเศษส่วนฟอสฟอรัสและไนโตรเจนก็มีอยู่พอสมควรหรือนำมาใช้คลุมต้นไม้ที่ปลูกเอาไว้ให้เกิดความชุ่มชื้นเนื่องจากผักชนิดนี้มีคุณสมบัติในการอุ้มน้ำได้ดี[2],[6]
6.
ผักตบชวาที่ตากแดดจนแห้งดีแล้ว
สามารถนำมาเพาะเห็ดฟางเพื่อสร้างรายได้ได้เป็นอย่างดี[6]
7.
ใช้ทำเป็นกระถางชนิดพิเศษที่เป็นปุ๋ยในตัวเองโดยต้นกล้าที่จะนำมาเพาะชำในกระถางนี้
เราสามารถขุดหลุมปลูกได้เลยเพราะกระถางจะย่อยสลายไปได้เองและยังเป็นปุ๋ยให้กับพืชที่ปลูกอีกด้วย[2]
8.
นำมาใช้ทำเป็นเชื้อเพลิงแท่งโดยการนำมาผสมกับแกลบอัดเป็นแท่งเชื้อเพลิงได้โดยไม่มีปัญหาในการอัด
ค่าพลังงานความร้อนที่ได้ก็ใกล้เคียงกับแกลบอัด[2]
9.
ผักตบชวาสามารถขึ้นได้ในทุกสภาพน้ำและสามารถช่วยบำบัดน้ำเสียได้โดยตรงโดยทำหน้าที่เป็นตัวกรอง
ทำให้ของแข็งหรือสารแขวนลอยต่างๆที่ปนอยู่ในน้ำถูกสกัดกั้นเอาไว้นอกจากนั้นระบบรากของผักผักตบชวาที่มีจำนวนมากยังช่วยกรองสารอินทรีย์ที่ละเอียดและจุลินทรีย์ที่อาศัยเกาะอยู่ที่รากจึงช่วยดูดสารเหล่านี้ไว้ด้วยอีกทางหนึ่งแต่ถ้าน้ำเสียนั้นมีสารพิษในปริมาณมากหรือน้ำเสียมากการใช้ผักตบชวาเพื่อบำบัดน้ำเสียจะให้ผลช้าและอาจทำให้น้ำเน่าได้จึงควรใช้ผักตบชวาร่วมกับการบำบัดน้ำเสียระบบอื่นไปด้วย
จึงจะได้ผลดี[5]
10.
ผักตบชวาสามารถนำมาแปรรูปทำเป็นผลิตภัณฑ์จักสานหรือสินค้าอื่นๆผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาก็เช่นกล่อง
กล่องใส่กระดาษทิชชู ตะกร้าผักตบชวากระเป๋าผักตบชวา เก้าอี้ผักตบชวา เปลญวน
รองเท้าแตะหรือรองเท้าผักตบชวาถาดรองผลไม้ ถาดรองแก้วน้ำ แจกันสาน เสื่อผักตบชวา
กระดาษจากผักตบชวา ฯลฯ[2],[6]
11.
นอกจากนี้ผักตบชวายังมีประโยชน์ที่ช่วยทำให้น้ำสะอาดขึ้นช่วยสะสมพลังงานจากดวงอาทิตย์
ทำให้อากาศบริสุทธิ์และเย็นสบายช่วยลดปัญหาที่เกิดจากวัชพืชใต้น้ำ เป็นที่อยู่อาศัยของปลาและสัตว์น้ำช่วยทำให้เกิดทัศนียภาพที่เจริญตา
(สำหรับบางคน) ฯลฯ[6]
สรุปงานวิจัยเกี่ยวการบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
แหล่งน้ำที่มีผักตบชวาขึ้นอยู่
เป็นสาเหตุที่ทำให้ไม่สามารถจะใช้ประโยชน์ของแหล่งน้ำนั้นๆได้เต็มตามเป้าหมายเราจึงจำเป็นต้องหาวิธีการแก้ไขไห้ถูกต้องแต่ก่อนที่จะหาวิธีการควรจะพิจารณาถึงข้อมูลต่างๆทีเกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
1. แหลงนาแหงนนมีวัตถประสงคจะใช้เพออะไร
2. วิธีการทจะใช้มีความปลอดภยตอตวทานเองและสงแวดล้อมเพียงใด
3. วิธีการที่จะใช้นั้นสามารถจนแก้ปัญหาระยะสั้นหรือระยะยาวได้มากน้อยเพียงใด
4. วิธีการนั้นประหยัดเพียงใด
4.ผลงานการวิจัย
น้ำเสียเกิดจาก น้ำสะอาด + ของเสีย ของเสียได้แก่ สารอินทรีย์ต่าง ๆ
โลหะหนัก ของแข็งแขวนลอย ไขมันและน้ำมัน ขยะต่างๆ กรด ด่าง และความร้อน
ที่ทำปฏิกิริยากัน ส่งผลให้เกิดน้ำเน่าเสียได้ น้ำเสีย = น้ำสะอาด + ของเสีย
ผักตบชวา (Eichhorniacrassipes)
คุณสมบัติ
ผักตบชวา
เป็นพันธ์ไม้น้ำจืด
มีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถดูดกลืนโลหะหนักที่มีในน้ำเสียได้เป็นอย่างดีโดยใช้ขบวนการดูดซับ(Plant Uptake) การตกตะกอนของออกไซด์ ไฮดรอกไซด์
คาร์บอเนต ฟอสเฟต และชัลไฟด์ เกิดการแลกเปลี่ยนของไอออน ดูดกลืนตะกอนของดิน (Sedimented
clay)
แปลงผักตบชวาที่ใช้เช่นขนาด2x5เมตร จำนวณแปลงมากน้อยขึ้นกับขนาดแหล่งน้ำ
และเว้นระยะห่างให้เรีอสัญจรได้
พระราชดำริ
พระราชกรณียกิจ และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญได้แก่
หลักการ "น้ำดีไล่น้ำเสีย" หลักการบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
ทฤษฎีการบำบัดน้ำเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ
ทฤษฎีการบำบัดน้ำเสียด้วยระบบบ่อบำบัดและวัชพืชบำบัด และ "กังหันน้ำชัยพัฒนา"
ซึ่งมีสาระโดยสรุปดังนี้คือ
๑) ทฤษฎี
"น้ำดีไล่น้ำเสีย"
ได้ทรงนำหลักการบำบัดน้ำเสียโดยการทำให้เจือจางตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
"น้ำดีไล่น้ำเสีย" โดยใช้หลักการตามธรรมชาติแห่งแรงโน้มถ่วงของโลก
เป็นการใช้น้ำคุณภาพดีมาช่วยบรรเทาน้ำเน่าเสีย
ดังพระราชดำรัสเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ในอำเภอธัญบุรี เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.
๒๕๓๒
"…แต่ ๓,๐๐๐
ไร่นั่นมันอยู่สูง จะนำน้ำโสโครกจากที่นี่ไปที่โน้นต้องสูบไปไม่ไหว
แต่ว่าจะทำเป็นบึงใหญ่ที่จะเก็บน้ำได้สำหรับเวลาหน้าน้ำมีน้ำเก็บเอาไว้
หน้าแล้งก็ปล่อยลงมา ส่วนหนึ่งอาจปล่อยลงมาสำหรับล้างกรุงเทพ
ได้เจือจางน้ำโสโครกในคลองต่างๆ…" (สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม,
๒๕๓๔: ๓๑-๒)
อีกทั้งได้พระราชทานแนวพระราชดำริโดยรับน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยา
ส่งเข้าไปตามคลองต่างๆ เช่น คลองบางเขน คลองบางซื่อ คลองแสนแสบ คลองเทเวศร์
และคลองบางลำพู เป็นต้น
โดยกระแสน้ำจะไหลแผ่กระจายขยายไปตามคลองซอยที่เชื่อมกับแม่น้ำเจ้าพระยาอีกด้านหนึ่ง
ดังนั้นเมื่อทำการปล่อยน้ำให้ไหลเวียนจากปากคลองไปปลายคลองได้อย่างเหมาะสม
ก็ย่อมจะช่วยเจือจางน้ำเน่าเสียได้มากโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง (สำนักงาน กปร., ๒๕๔๐: ๑๐๑)
๒)
การบำบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยในการปรับปรุงคุณภาพของแหล่งน้ำที่มีอยู่แล้ว
เช่น บึงและหนองต่างๆ เพื่อทำเป็นแหล่งบำบัดน้ำเสีย โดยหนึ่งในจำนวนนั้นได้แก่
โครงการบึงมักกะสันอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มีหลักการบำบัดน้ำเสีย
ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาโดยการกรองน้ำเสียด้วยผักตบชวา
๓)
การบำบัดน้ำเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ำกับระบบเติมอากาศ
ด้วยทรงห่วงใยในปัญหาน้ำเน่าเสียที่เกิดขึ้นในหนองหนองหาน จังหวัดสกลนคร
ซึ่งเป็นแหล่งรับน้ำเสียจากครัวเรือนในเขตเทศบาลเมืองสกลนคร
ที่มีสภาพเกินขีดความสามารถในการรองรับของเสีย
พระบาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระราชทานแนวพระราชดำริ
ทฤษฎีการบำบัดน้ำเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ำกับระบบการเติมอากาศ ณ
บริเวณหนองสนม-หนองหาน จังหวัดสกลนคร ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างวิธีธรรมชาติกับเทคโนโลยีแบบประหยัด
โดยมีกรมประมงร่วมกับกรมชลประทานดำเนินการศึกษาและก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียในบริเวณดังกล่าว
โดยมีระบบบำบัดด้วยพืชน้ำซึ่งเป็นวิธีการบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีธรรมชาติในพื้นที่
๘๔.๕ ไร่ และได้มีการก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๗ (สำนักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ, ๒๕๓๙: ๒๒๒)
๔)
การบำบัดน้ำเสียด้วยระบบบ่อบำบัดและวัชพืชบำบัด
โครงการวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึงปัญหาภาวะมลพิษที่มีผลต่อการดำรงชีพของประชาชน
อันเนื่องมาจากชุมชนเมืองต่างๆ
ยังขาดระบบบำบัดน้ำเสียและการกำจัดขยะมูลฝอยที่ดีและมีประสิทธิภาพ
จึงทรงให้มีการดำเนินการตามโครงการดังกล่าวขึ้นในพื้นที่ ๑,๑๓๕ ไร่
โดยเป็นโครงการศึกษาวิจัยวิธีการบำบัดน้ำเสีย กำจัดขยะมูลฝอยและการรักษาสภาพป่าชายเลนด้วยวิธีธรรมชาติ
๕)
กังหันน้ำชัยพัฒนา ในปัจจุบัน สภาพมลภาวะทางน้ำมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น
จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องกลเติมอากาศเพิ่มออกซิเจนเพื่อการบำบัดน้ำเสีย
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับอุปกรณ์การเติมอากาศ
และทรงค้นคิดทฤษฎีบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการเติมอากาศ
โดยใช้วิธีทำให้อากาศสามารถละลายลงไปในน้ำเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและการเพาะตัวอย่างรวดเร็วของแบคทีเรียจนมีจำนวนมากพอที่จะทำลายสิ่งสกปรกในน้ำให้หมดสิ้นไปโดยเร็ว
ตามแนวทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ "กังหันน้ำชัยพัฒนา" ซึ่งเป็นรูปแบบสิ่งประดิษฐ์ที่เรียบง่าย
ประหยัด เพื่อใช้ในการบำบัดน้ำเสียที่เกิดจากแหล่งชุมชนและแหล่งอุตสาหกรรม
และได้มีการนำไปใช้งานทั่วประเทศ (สำนักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ, ๒๕๓๙: ๒๑๘-๙)
๖)
การกำจัดน้ำเสียโดยวิธีธรรมชาติ ทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษา ทดลองวิจัยดูว่า
จะใช้ปลาบางชนิดกำจัดน้ำเสียได้หรือไม่
ปลาเหล่านี้น่าจะเข้าไปกินสารอินทรีย์ในบริเวณแหล่งน้ำเสีย
ซึ่งปรากฏว่าปลาบางสกุลมีอวัยวะพิเศษในการหายใจ เช่น ปลากระดี่ ปลาสลิด
เหมาะแก่การเลี้ยงในน้ำเสีย และชอบกินสารอินทรีย์ จึงช่วยลดมลภาวะในแหล่งน้ำ
วิธีการนี้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการกำจัดน้ำเสียได้ ซึ่งจะมีต้นทุนต่ำ
และสามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำได้อีกทางหนึ่ง (สำนักงาน กปร., ๒๕๓๑: ๕๒)
ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (The
Food and Agriculture Organization : FAO) ได้ทูลเกล้าฯ
ถวายเหรียญสดุดีพระเกียรติคุณในด้านการพัฒนาการเกษตร (Agricola Medal) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘
ในฐานะที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอุทิศพระองค์
เพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทยโดยเฉพาะผู้ซึ่งประกอบอาชีพเพาะปลูก บำรุงรักษาน้ำ
และบำรุงรักษาป่า ซึ่งทรงยึดหลัก
"สนับสนุนการพัฒนาแบบยั่งยืนเพื่อความมั่นคงในอนาคต" เป็นหลักปฏิบัติ
เพื่อให้ประจักษ์ชัดเจนจากความสำเร็จในด้านการพัฒนา โดยองค์การฯ สดุดีพระองค์ว่า
ทรงพระปรีชาสามารถเกี่ยวกับความยุติธรรมของสังคม
ซึ่งได้ปรากฏเห็นเป็นตัวอย่างจากนโยบายเรื่องการแบ่งที่ดินทำกินเพื่อเกษตรกรและผู้ทำนุบำรุงรักษาป่า
ทรงวิริยะอุตสาหะในเรื่องการกักเก็บน้ำให้เพียงพอเพื่อประกันผลผลิตอาหาร
การอนุรักษ์สันปันน้ำและป้องกันการกัดเซาะผิวดิน
ทรงสนับสนุนเผยแพร่การเกษตรสมบูรณ์ ซึ่งรวบรวมแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก
และขยายพันธุ์สัตว์ให้เจริญเติบโตขึ้น ตลอดจนการบำรุงผิวดิน
ทรงมีพระอุตสาหะอันสูงส่งในการสงวนรักษาพันธุ์พืช
ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อมนุษยชาติในการค้นคว้าเรื่องอาหาร ทั้งนี้ เนื่องจากทรงมีสายพระเนตรอันกว้างไกลในการที่จะทำให้โลกปราศจากความหิวโหย
และประชาชนมีอาหารเพียงพอต่อการดำรงชีวิต
บทที่3
วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า
ในการศึกษาเรื่อง
การกำจัดน้ำเสียโดยวิธีธรรมชาติ ทรงมีพระราชดำริให้ทำการศึกษา
ทดลองวิจัยดูว่า จะใช้ปลาบางชนิดกำจัดน้ำเสียได้หรือไม่
ปลาเหล่านี้น่าจะเข้าไปกินสารอินทรีย์ในบริเวณแหล่งน้ำเสีย
ซึ่งปรากฎว่าปลาบางสกุลมีอวัยวะพิเศษในการหายใจ เช่น ปลากระดี่ ปลาสลิด
เหมาะแก่การเลี้ยงในน้ำเสีย และชอบกินสารอินทรีย์ จึงช่วยลดมลภาวะในแหล่งน้ำ
วิธีการนี้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการกำจัดน้ำเสียได้ ซึ่งจะมีต้นทุนต่ำ
และสามารถเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ำได้อีกทางหนึ่ง (สำนักงาน กปร., ๒๕๓๑: ๕๒)
ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (The
Food and Agriculture Organization : FAO) ได้ทูลเกล้าฯ
ถวายเหรียญสดุดีพระเกียรติคุณในด้านการพัฒนาการเกษตร (Agricola Medal) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๘
ในฐานะที่ทรงบำเพ็ญพระราชกรณียกิจอุทิศพระองค์ เพื่อประโยชน์สุขของปวงชนชาวไทยโดยเฉพาะผู้ซึ่งประกอบอาชีพเพาะปลูก
บำรุงรักษาน้ำ และบำรุงรักษาป่า ซึ่งทรงยึดหลัก
"สนับสนุนการพัฒนาแบบยั่งยืนเพื่อความมั่นคงในอนาคต" เป็นหลักปฏิบัติ
เพื่อให้ประจักษ์ชัดเจนจากความสำเร็จในด้านการพัฒนา โดยองค์การฯ สดุดีพระองค์ว่า
ทรงพระปรีชาสามารถเกี่ยวกับความยุติธรรมของสังคม
ซึ่งได้ปรากฏเห็นเป็นตัวอย่างจากนโยบายเรื่องการแบ่งที่ดินทำกินเพื่อเกษตรกรและผู้ทำนุบำรุงรักษาป่า
ทรงวิริยะอุตสาหะในเรื่องการกักเก็บน้ำให้เพียงพอเพื่อประกันผลผลิตอาหาร
การอนุรักษ์สันปันน้ำและป้องกันการกัดเซาะผิวดิน ทรงสนับสนุนเผยแพร่การเกษตรสมบูรณ์
ซึ่งรวบรวมแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูก และขยายพันธุ์สัตว์ให้เจริญเติบโตขึ้น
ตลอดจนการบำรุงผิวดิน ทรงมีพระอุตสาหะอันสูงส่งในการสงวนรักษาพันธุ์พืช
ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อมนุษยชาติในการค้นคว้าเรื่องอาหาร ทั้งนี้
เนื่องจากทรงมีสายพระเนตรอันกว้างไกลในการที่จะทำให้โลกปราศจากความหิวโหย
และประชาชนมีอาหารเพียงพอต่อการดำรงชีวิต
สรุปผลการสำรวจความคิดเห็น
บทที่4
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ในการศึกษาค้นคว้าเรื่องการบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาพืชน้ำบางชนิดที่มีอยู่มากมายในชุมชนและมีคุณสมบัติช่วยลดปริมาณของเสียในน้ำได้
จึงน่าจะช่วยบำบัดน้ำเสียในชุมชนได้
1.เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปของขมิ้น
2.เพื่อศึกษาประโยชน์ของผักตบชวาและสรรพคุณของผักตบชวา
3.เพื่อศึกษาสารสกัดจากผักตบชวา
4.เพื่อศึกษาผลการวิจัยเกี่ยวกับผักตบชวา
สมมุติฐาน
การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวาพืชน้ำบางชนิดที่มีอยู่มากมายในชุมชนและมีคุณสมบัติช่วยลดปริมาณของเสียในน้ำได้
จึงน่าจะช่วยบำบัดน้ำเสียในชุมชนได้
สรุปผลการศึกษาได้ดังนี้
1.ข้อมูลทั่วไปของการบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวามีดังนี้
1.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
1.2 การขยายพันธุ์
1.3 ส่วนที่ใช้
ประโยชน์
การบริโภค ดอกอ่อนและก้านใบอ่อนกินเป็นผักลวกจิ้มน้ำพริกหรือทำแกงส้ม
ใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ เช่นหมู ใช้ทำปุ๋ยหมัก
ก้านและใบอ่อนนำมารับประทานได้ เครื่องจักสานผักตบชวา
แบบสำรวจความคิดเห็นเรื่อง การบําบัดน้ำเสียด้วยผักตบชวา
ลำดับ
|
หัวข้อคำถาม
|
ระดับความคิดเห็น
|
|
เห็นด้วย
|
ไม่เห็นด้วย
|
||
1
|
ผักตบชวาบําบัดน้ำเสียได้ |
31
|
9
|
2
|
ผักตบชวาเป็นพืชที่ปลูกง่าย
|
25
|
15
|
3
|
ผักตบชวาเป็นพืชที่โตแล้ว
|
27
|
13
|
4
|
ดอกอ่อนและก้านใบอ่อนกินเป็นผักลวกจิ้มน้ำพริกหรือทำแกงส้ม
|
24
|
16
|
5
|
ช่วยระบายความร้อนในร่างกาย
|
32
|
18
|
6
|
การรับประทานดอกอ่อนผักตบชวาเป็นประจำจะช่วยลดแผลในกระเพาะและช่วยย่อยอาหารได้
|
30
|
10
|
7
|
ดอกอ่อนผักตบชวาช่วยแก้ท้องอืดเฟ้อด้วยการขับลมได้
|
27
|
13
|
8
|
บัดน้ำเสียได้ |
27
|
13
|
9
|
เคอร์คูมินอยด์ลดการสร้างอนุมูลอิสระของไขมันและลดระดับโคเลสเตอรอลในเลือดได้
|
28
|
12
|
10
|
ข้อมูลจากโครงงานเรื่องนี้ทำให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผักตบชวามากขึ้น
|
30
|
10
|
บทที่
5
อภิปรายผลและเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
โครงงานนี้มีวัตถุประสง เพื่อเป็นการจัดทำระบบการบำบัดน้ำเสีย
3ขั้นตอนในขั้นตอนแรกเป็นการบำบัดไขนันในถ้งกรองน้ำเสียที่มี
อนุภาดนาโนคาร์บอนแบลค ป็นส่วนประกอบขั้นตอนที่2
การกำจัดฟอสฟอรัสด้วยผงด้วยผงเปลือกไข่ไก่ ไนระยะเวลาการแช่ที่แกต่างกัน
และขั้นตอนสุดท้ายเป็นการกำจัดสารไนตรทในน้ำด้วยผักตบชวาและสาหร่ายฉัตร
ผลการศึกษาในขั้นตอนที่1ปรากฏว่า
น้ำที่ผ่านถ้งกรอนซึ่งมีอนุภาดนาโนคาณ์บอนแบล๕เป็นส่วนประกอบ
นั้นจะมีปริมาณไขมันที่หลงเหลืออยู่น้อยกว่าน้ำที่ผ่านถังกรองที่ไม่มีอนุภาคนาโนคาร์บอกแบลดเป็นส่วนประกอบ
ผล การศึกษาไนขั้นตอนที่2 เป็นการทดลองกำจัดฟอสฟอรัสด้ายผงเปลองไข่ไก่
โดยการแช่ในน้ำในระยะเวลาที่แตกต่างกัน
เมื่อระยะเวลาไนการแช่เพิ่มมากขึ้นปริมาณฟอสฟอรัสที่หลงเหลืออยู่จะน้อยลงแต่เอระยะเวลาในการแช่ตั่งแต่96
ชั่วโมงเป็นต้นไปนัน ปริมาณฟอสฟอรัสที่หลงเหลืออยู่นั้นจะค่อนข้างคงที่ และ
ผลการศึกษาในขั้นตอนที3
เป็นการทดลองเปรียบเทียบการกำจันสารไนเตรทด้วยผักตบชวาและสาหร่ายฉัตร จะพบว่า
น้ำที่ผ่านการแช่ด้วยสาหร่ายฉัตรเ)นเวลา
จะสามารถกำจัดสารไนเตรทได้ดีกว่าน้ำที่ผ่านการแช่ด้วยผักตบชวา
อภิปรายผล
จากผลการศึกษาทดลองในขั้นตอนทีj1 เมืjอน้ำเสียผ่านถังกรองทีjมีอนุภาคนาโนคาร์บอนเป็น
ส่วนประกอบ
อนุภาคนาโนคาร์บอนนี้เป็นวัสดุที่มีขนาดเล็ก จะมีคุณสมบัติ ในการช่วยการดูดซับ
ไขมันในน้ำ
ทำให้น้ำที่ผ่านถังกรองมีปริมาณไขมันที่หลงเหลืออยู่น้อยกว่า น้ำที่ผ่านถังกรองที่ไม่มี
อนุภาคนาโนคาร์บอนเป็นส่วนประกอบ
ในผลการศึกษาขั้นตอนที่ 2 การทดลองกำจัดฟอสฟอรัส
ด้วยผงเปลือกไข่ไก่
เนื่องจากเปลือกไขไก่จะมีสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นองค์ประกอบ
98.2%
ของน้ำหนักเปลือกไข่ ซึ่งสารประกอบนี้ จะมีคุณสมบัติในการดูดซับฟอสฟอรัสในน้ำได้ดี
ซึ่ง
การดูดซับนัhนจะเกิดขึ้นได้ดีเมื่อระยะเวลาในการแช่มากขึ้น
และเมื่อสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต
ดูดซับได้เต็มที่แล้ว
จะไม่มีการดูดซับเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นได้น้อย ซึ้งเห็นได้จากผลการทดลองเมื่อ
ระยะเวลาในการแช่มากขึ้น
ปริมาณฟอสเฟตทีjหลงเหลืออยู่ที่ตรวจได้จะมีค่าค่อนข้างคงที่
ในผล
การศึกษาขั้นตอนที่
3 การทดลองเปรียบเทียบการกำจัดสารไนเตรทด้วยผักตบชวา และสาหร่ายฉัตร
จะพบว่า
น้ำที่ผ่านการแช่ด้วยสาหร่ายฉัตรเป็นเวลา จะสามารถกำจัดสารไนเตรทได้ดีกว่าน้ำที่ผ่านการ
แช่ด้วยผักตบชวา
นั้นแสดงว่า สาหร่ายฉัตรจะมีความสามารถในการดูดซับสารไนเตรทได้ดีกว่า
ผักตบชวา
บรรณาณุกรม
http://www.ex-mba.buu.ac.th/research/Nonthaburi/PM6/51723687/05_ch5.pdf
ภาคผนวก