วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บทที่ 4
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
การประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ
1.ออกแบบและสร้างจักรยานที่สามารถลอยน้าได้
2เพื่อใช้ควา
3เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของจักรยานน้าที่ประดิษฐ์ขึ้น ซึ่งมีวิธีดาเนินการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์มรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการประดิษฐ์ชิ้นงานที่มีประโยชน์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 


                                                                            บทที่ 5

อภิปลายผลและข้อเสนอแนะ
การประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ (1)เพื่อออกแบบและสร้างจักรยานที่สามารถลอยน้าได้ (2)เพื่อใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการประดิษฐ์ชิ้นงานที่มีประโยชน์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (3)เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของจักรยานน้าที่ประดิษฐ์ขึ้น ซึ่งมีวิธีดาเนินการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ได้ดาเนินการดังขั้นตอนต่อไปนี้ (1)ทาการวัดและตัดอลูมิเนียม ให้ได้ขนาด 1 เมตร จานวน 4 แผ่น, 50 เซนติเมตร จานวน 40 แผ่น และ 30 เซนติเมตร จานวน 27แผ่น เพื่อใช้สาหรับการทาโครงจักรยานน้า(2)เจาะรูอลูมิเนียมที่ตัดทิ้งไว้ด้วยสว่าน แล้วทาการยิงลูกรีเวสเพื่อขึ้นรูปโครงจักรยานน้าตามที่ออกแบบไว้ (3)นาแกลลอนขนาด 20 ลิตรมาวัดขนาด และติดไว้กับโครงจักรยานน้าที่ทาไว้(4)นาจักรยานที่เหลือดัดแปลงไว้ให้เหลือแต่ส่วนของแฮนด์คันเร่ง และบันได มาติดตั้งกับโครงจักรยานน้าที่ทาไว้ (5)นาแผ่นเหล็กมาตัดให้ได้ขนาด 30 เซนติเมตรจานวน 4 อัน สาหรับทาใบพัดเพื่อติดกับเพลา(6)ทานาเพลาที่ประกอบกับใบพัดเรียบร้อยแล้วมาติดตั้งกับโซ่ แล้วประกอบเข้ากับโครงจักรยานน้าและตัวจักรยาน และ(7)ทาหางเสือโดยการนาอลูมิเนียมยาว 95 เซนติเมตร จานวน 2 เส้น และอลูมิเนียมยาว 50 เซนติเมตร จานวน 2 เส้น มาติดกับแผ่นพลาสติกแข็งที่ตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาด 30 x 13.5 เซนติเมตรผลการประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้พบว่า จักรยานน้าสามารถลอยน้าได้จริง สามารถรับน้าหนักคนขี่ในน้าได้สูงสุด 80 กิโลกรัม และสามารถปรับระดับความเร็วได้ 3 ระดับดังนี้ ระดับที่ 1 มีความเร็ว เท่ากับ 0.378 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ระดับที่ 2 มีความเร็วเท่ากับ 0.511 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และระดับที่ 3 มีความเร็วเท่ากับ 0.817 กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมื่อนาจักรยานน้าไปปั่น แข่งกับเรือ เมื่อทดสอบประสิทธิภาพพบว่า ที่ระยะทาง 62 เมตร จักรยานน้ามีความเร็ว 0.166 เมตรต่อวินาที และเรือมีความเร็ว 0.137 เมตรต่อวินาที และสามารถคานวณค่าแรงลอยตัวของจักรยานน้า มีแรงลอยตัว 196 นิวตัน


 บทที่ 3
วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า
                  
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกำหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดำเนินการทำโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คำตอบว่า
          1. จะทำ อะไร
          2. ทำไมต้องทำ
          3. ต้องการให้เกิดอะไร
          4. ทำอย่างไร
          5. ใช้ทรัพยากรอะไร
          6. ทำกับใคร
          7.เสนอผลอย่างไร



บทที่ 2

                                                                                   เอกสารที่เกี่ยวข้อง

                เอกสารที่ใช้ในการค้นคว้า เรื่อง จักรยานลอยน้ำมีหัวข้อและรายละเอียดดังนี้
                1.ประวัติความเป็นมาของจักรยานลอยน้ำ
      3.ผลกระทบของจักรยานลอยน้ำ
      4.การแก้ไขสามารถให้จักรยานลอยน้ำ




บทคัดย่อ
   การศึกษาค้นคว้า เรื่อง จักรยานลอยน้ำมีวัตถุประสงค์  เพื่อศึกษาวจักรยานลอยน้ำสามารถลอยน้ำได้ เพื่อศึกษาการแก้ไขปัญหาของน้ำ)  โดยศึกษาจาก
แหล่งที่มา http://www.google.com/gwt/x?hl=th&u=http://d
ผลการศึกษาค้นคว้าปรากฏว่า



บทที่ 1 บทนำ
1.1 ที่มาและความสำคัญ
เราต่างไม่คุ้นเคยกับน้ำท่วม (แม้ว่ากรุงเทพฯ จะเคยขึ้นชื่อว่าเป็นเมือเวนิสตะวันออกมาก่อนก็ตาม) ดังนั้นเมื่อน้ำหลากมา ระบบชีวิตปกติของเราเกือบทุกอย่างล้วนมีปัญหา อาหาร น้ำ ไฟ การเดินทาง โรคภัย อันตรายจากน้ำ ฯลฯ ทุกๆ อย่างดูจะเป็นอุปสรรคสำหรับการดำรงชีวิตไปเสียหมด แต่อุปสรรคคือบทเรียน วิกฤติคือโอกาส มีผู้รู้หลายคนในสังคมได้คิดค้นนวัตกรรมออกมามากมายเพื่อช่วยบรรเทาอุปสรรคต่างๆ เช่น นวัตกรรมทดแทนถุงทรายที่ขาดแคลน (และแสนแพง) ด้วย ผ้ายาง + ฟิวเจอร์บอร์ด + เทปผ้า เพื่อป้องกันน้ำเข้าบ้าน การใช้ผ้าใบห่อรถยนต์ให้ลอยน้ำแทนการย้ายรถขึ้นที่สูง อุปกรณ์เช็กไฟรั่วตามน้ำจากไขควงวัดไฟ เป็ดน้อยเช็กไฟรั่ว ส้วมลอยน้ำ ส้วมชั่วคราวจากเก้าอี้พลาสติก ถุงทรายบิ๊กแบ็ก เรือผลักดันน้ำ ฯลฯ ล้วนน่าชื่มชมเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนั้นยังมีของเจ๋งๆ ที่อาจไม่ค่อยเป็นข่าวในเมืองไทยแต่ใช้การได้จริง นั่นคือ นวัตกรรมเกี่ยวกับจักรยาน
ปกติเราใช้แรงน่องหมุนเฟืองจักรเพื่อขับเคลื่อนวงล้อให้จักรยานวิ่งไปข้างหน้า แต่ในยามวิกฤติแบบนี้ นอกจากจะใช้ขี่ลุยน้ำเพื่อเดินทางตามปกติ (แม้ในที่น้ำท่วมสูงจนรถเล็กไม่สามารถแล่นได้) เราสามารถดัดแปลงให้เป็นอุปกรณ์ยังชีพสำคัญๆ ได้มากมาย  ลองไปดูกัน
ไฟฟ้าดับ เมื่อระดับน้ำท่วมสูงจนท่วมสายไฟ บางครั้งการไม่มีไฟฟ้าใช้ก็ดีกว่าดันทุรังจ่ายไฟแล้วเกิดปัญหาไฟดูด เมื่อไม่มีไฟฟ้าใช้ย่อมเป็นอุปสรรคใหญ่ที่คนเมืองหลวงอย่างเราๆ ยากจะทนอยู่ได้ ไหนจะมือถือ ทีวี อินเทอร์เน็ต ช่องทางสื่อสารทั้งมวลขาดไปเมื่อไฟดับ หนำซ้ำอาหารในตู้เย็นก็กำลังรอวันเน่าเสีย ชีวิตท่ามกลางความมืดมิดจะอยู่รอดได้อย่างไร  ไม่เป็นไรครับซาร่า พระเจ้าจอร์จขอเสนอ จักรยานปั่นไฟ..ไฟ..ไฟ..ไฟ  ให้จักรยานแปลงแรงน่องของคุณมาเป็นไฟฟ้าใช้เอง หลักการแสนง่ายดาย แค่เอาไดนาโมต่อเข้ากับล้อจักรยานเมื่อเราปั่นจักรยานไดนาโมก็จะปั่นไฟให้เราใช้กัน จะปั่นไปใช้ไปแบบรอบต่อรอบหรือจะปั่นรัวรวดเดียวเก็บไฟใส่แบตฯ ให้เต็มแล้วมานอนตีพุงอัพเฟซบุ๊ก ดูหนัง ก็ยังได้
จักรยานปั่นไฟชาร์ตโน๊ตบุ๊ค

น้ำประปาไม่ไหล เมื่อน้ำทะลักเข้าคลองประปา การประปาผลิตน้ำได้ไม่ดี กลิ่นเหม็น สีขุ่น บางพื้นที่ถึงกับต้องจ่ายน้ำเป็นบางเวลา อาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน หรือแม้กระทั่งล้างจาน ล้วนต้องการน้ำสะอาดทั้งนั้น ถ้าน้ำไม่ไหลอีก แล้วจะเอาอะไรกิน งานนี้ TV Biker ขอเสนอ จักรยานสูบน้ำ สำหรับบ้านที่สำรองน้ำสะอาดไว้แต่ไม่มีเครื่องสูบน้ำ และจักรยานสูบน้ำรุ่นพิเศษที่ติดตั้งเครื่องกรองน้ำไว้ในตัว สามารถกรองน้ำท่วมมาเป็นน้ำใช้ได้อีกด้วย โอ้โห อะไรจะวิเศษขนาดนี้ !! หลักการทำงานก็ไม่ซับซ้อนอะไร เราอาจใช้เครื่องสูบน้ำเก่ามาต่อเข้ากับล้อหลังจักรยานหรือใช้เทคโนโลยีบ้านๆ แบบระหัดวิดน้ำหรือบ้องไม้ไผ่ก็ได้
ไปไหนไม่สะดวก น้ำท่วมสูงขนาดนี้ ให้เดินลุยน้ำก็ไม่รู้ว่าจะถูกไฟช็อต เหยียบเศษแก้ว หรือโดนจระเข้งาบก่อน จะซื้อเรือก็แสนแพง เรือรับจ้างก็ขูดรีดกันสุดฤทธิ์ จากปากซอยเข้าบ้านราคาหลักพัน (หากินบนความทุกข์คนอื่นแบบนี้ ไม่ตายดีแน่ๆ ของขึ้นแล้วโว้ย!!) พี่ทหารและอาสาสมัครใจดีก็มีเยอะ แต่ยังไงเรือก็ไม่พอใช้อยู่ดี นักธุรกิจชาวเมืองน้ำแห่งเวนิส (ตะวันตก) จึงคิดค้นกระเป๋าวิเศษที่จะแปลงร่างเจ้าสองล้อบ้านๆ ของคุณให้กลายเป็นเรือเร็วได้อย่างง่ายดาย แม้ในทะเลมีคลื่นเล็กน้อยถึงปานกลางก็ยังไม่หวั่น แต่ของไฮโซจากอิตาลีอาจมีราคาเป็นอุปสรรค (คำนวณแล้วตก 40,000 บาท) ผมจึงขอเสนอเทคโนโลยีแบบ Made in China ที่ใช้งานได้คล้ายกันแต่ต้นทุนต่างกันหลายสิบเท่า แถมวัตถุดิบสามารถหาได้จากในบ้านเสียด้วย
หลักการคือ ติดทุ่นลอยน้ำไว้ที่ด้านข้างของจักรยานเพื่อให้รถลอยน้ำได้อย่างสมดุล และติดใบพัดต่อเข้ากับล้อหลังของจักรยานหรือไม่ก็ดัดแปลงล้อให้เป็นใบพัดเสียเองก็จะทำให้จักรยานสามารถขับเคลื่อนไปบนผืนน้ำได้ ยิ่งใช้เยอะ ยิ่งช่วยบำบัดน้ำเสียอีกด้วย
จักรยานลอยน้ำของอิตาลีกับจักรยานลอยน้ำของจีน


น้ำเลิกท่วมเมื่อไหร่ ก็ไปรับงานเดินแบบได้เลย หุ่นฟิต ขาเฟิร์ม เป็นแน่แท้ครับ
ยังมีสิ่งประดิษฐ์จากจักรยานอีกมากมายที่เก๋ไก๋ เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์ (เวิร์กบ้างไม่เวิร์กบ้าง) ตามไปดูไอเดียบรรเจิดต่างๆ ได้ที่เว็บประกวดไอเดียจักรยานเพื่อความอยู่รอด  “ไม่พัฒนาก็ตาย” http://www.innovate-or-die.com/

สารบัญ
บทที่                                                                                                      หน้า
      1 บทนำ............................................................................................................................. 1
           ที่มาและความสำคัญ………………………………………………………………………………2
       2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง..........................................................................................................   4
         3  วิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้า........................................................................................  20
         4  สรุปผลการศึกษาค้นคว้า.................................................................................................  21
          5  อภิปรายและข้อเสนอแนะ...............................................................................................  25
          7  ภาคผนวก....................................................................................................................   27



ชื่อเรื่อง          จักรยานลอยน้ำ
ผู้ศึกษา     
นาย.กิตศักดิ์   แดงกันหา เลขที2
นาย.ยุทธชัย  เจริญสุข เลขที่4
นาย.สิทธิพงษ์ บ้งพรม เลขที่6
นาย.กรกต ลาดโพธิ์ เลขที่11
นาย.ไพศาล สหะนาม เลขที่15
ครูที่ปรึกษา     ครูนารีรัตน์   แก้วประชุม
ชื่อวิชา             การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
ชื่อโรงเรียน     โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร ปีการศึกษาที่ศึกษาค้นคว้า   2557